================================================== -->
เคยท่องตั้งแต่เด็กๆ ไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีเกษตรกรเป็นกระดูกสันหลังของชาติ แต่ไม่น่าเชื่อว่า นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่มีรัฐบาลไหนเลยที่สามารถแก้ปัญหาราคาพืชผลการเกษตรได้อย่างยั่งยืน ไม่มีการวางรากฐานให้เกษตรกรลืมตาอ้าปากได้ มีแค่กลืนไปกับระบบราชการ กับนโยบายหวือหวาเช่นจำนำข้าวทุกเมล็ด สุดท้ายนำไปสู่ปัญหาคอร์รัปชัน และสร้างความเสียหายให้งบประมาณแผ่นดินอย่างมหาศาล การเกิดขึ้นของม็อบชาวสวนยาง ซึ่งกำลังชุมนุมที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างว่า รัฐบาลทุกชุดที่ผ่านมา รวมทั้งรัฐบาล คสช ไม่ได้มีความประสงค์จะแก้ปัญหาอย่างจริงจัง หากมองโยงว่าม็อบเกิดช่วงก่อนเลือกตั้ง จะต้องมีการเมืองอยู่เบื้องหลังก็มองไป แต่ที่รัฐบาลมองข้ามไปไม่ได้เลยคือ ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำจนเกษตรกรจะอยู่ไม่ได้แล้ว แล้วปัญหามันอยู่ตรงไหน ต้องแก้ไขอย่างไร ไปดูยอดส่งออกยางพาราในปี ๒๕๖๐ ประเทศที่มียอดการส่งออก ๕ อันดับแรกของโลกมีดังนี้ ๑ไทย ๑๙๗,๑๐๐ ล้านบาท (๓๖๒%) ๒อินโดนีเซีย ๑๖๗,๕๓๕ ล้านบาท (๓๐๗%) ๓โกตดิวัวร์ ๓๖,๑๓๕ ล้านบาท (๖๗%) ๔มาเลเซีย ๓๖,๐๐๐ ล้านบาท (๖๖%) ๕เวียดนาม ๓๒,๘๕๐ ล้านบาท (๖๐%) การที่ประเทศไทยส่งออกเยอะที่สุดในโลกอาจไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะลึกๆ แล้วมีปัญหาให้มองได้ ๒ มิตินั่นคือ ปลูกจนล้น กับ แปรรูปในประเทศน้อย ทั้ง ๒ ข้อนี้คือหายนะของเกษตรกรชาวสวนยาง ย้อนกลับไปช่วงรัฐบาลทักษิณ ผู้ให้กำเนิดนโยบายเพิ่มพื้นที่ปลูกยางในภาคเหนือและภาคอีสาน ๑ ล้านไร่ เพราะขณะนั้นราคายางพาราต่อกิโลกรัมเกิน ๑๐๐ บาท ฐานความคิดที่ว่าปลูกเยอะก็ขายได้เยอะ ช่วงตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จึงมีการปลูกยางพารากันอย่างกว้างขวาง ที่เคยผลิตยางพาราได้ประมาณ ๑๕ ล้านตันต่อปี จากพื้นที่ปลูกในภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ ในปี ๒๕๕๖ ไทยผลิตยางได้ประมาณ ๔๑ ล้านตันต่อปี เพราะเพิ่มพื้นที่ปลูกทั่วทุกภาค เกือบทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นเกือบ ๔ เท่า แค่ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ดีมานด์-ซัพพลาย มาจับ ก็เห็นหายนะแล้ว การเพิ่มผลผลิตกันอย่างมโหฬารก็ตรงกับช่วงที่ราคายางพาราตกต่ำอย่างหนัก ขณะที่การแปรรูปใช้เองในประเทศ รัฐบาลรับปากไปก็เหมือนผายลม ถนนยางพาราผ่านมากี่ปีแล้วทำได้กี่กิโลเมตร ตัวเลขทั้งหมดนี้รัฐบาลรู้ เกษตรกรก็น่าจะรู้ ถ้าจะแก้ปัญหากันจริงๆ ต้องลดพื้นที่ปลูก แต่ถามว่า เกษตรกรยอมหรือเปล่า แล้วรัฐบาลกล้าหรือไม่ที่จะประกาศโซนปลูกยางพาราเสียใหม่ ตอบได้คำเดียวว่า ยากมาก ฉะนั้นไม่ว่าใครก็ตามที่พูดเรื่องยางพารา ถึงเวลาต้องพูดให้หมดและครอบคลุม ทั้งปัญหาและวิธีการแก้ไข อย่าใช้มาตรการเอาใจเกษตรกรมากเกินไปจนกลายเป็นดินพอกหางหมู ส่วนรัฐบาลถ้ายังไม่จริงจังที่จะแก้ปัญหา โดยเฉพาะ ลุงตู่ หากกลับมาเป็นนายกฯ อีกรอบท่านจะโดนหนักกว่านี้เยอะ ฝีมันเจ็บถ้าไม่ผ่าออก ตอนผ่าก็ยิ่งเจ็บกว่า แต่เจ็บแล้วหาย พืชผลทางการเกษตรก็เช่นกัน หากถึงเวลาบังคับปลูกเป็นโซนก็ต้องทำ ไม่เช่นนั้นจะติดกับราคาที่ตกต่ำ และการชุมนุมไม่จบไม่สิ้น
ผู้สื่อข่าวถามว่าจะมียื่นฟ้องกรมทรัพย์สินทางปัญญาหรือไม่ นพโสภกล่าวว่า เรื่องของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ที่ให้ 11 บริษัท จดสิทธิ์บัตรสารสกัดกัญชา นั้น ได้ให้ฝ่ายกฎหมายพิจารณาและศึกษาข้อกฎหมายอยู่ เพราะสารสกัดจากพืชไม่สามารถจดสิทธิบัตรได้ โดยเมื่อวันที่ 15 มิยเคยสอบถามอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา ก็ระบุเองว่า ไม่สามารถจดได้ ใจจริงไม่ได้อยากฟ้องหน่วยงานภาครัฐด้วยกัน คิดว่าคงไม่ฟ้อง คงมีการนัดคุยกัน แต่ยังไม่มีการระบุวัน
โพสต์บล็อกทั้งหมด(767)
การจำแนกประเภท: เครือข่ายข่าวคุณภาพของจีน
คา บ่า ร่า ออนไลน์, ในปีหน้าปัจจัยบวกที่จะทำให้การส่งออกอาหารดีขึ้นคือ การขยายตลาดในกลุ่มสินค้าฟังก์ชันนัล ฟู้ด และเรื่องของอากาศที่ทั่วโลกได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ แต่ไทยยังคงผลิตอาหารได้ตามปกติ ดังนั้นเชื่อว่าจะรักษาฐานรวมทั้งเพิ่มมูลค่าได้ส่วนปัจจัยเสี่ยงต้องจับตาดูสงครามการค้าหระหว่างสหรัฐฯ และจีน ซึ่งมีผลต่อค่าเงิน ตลอดจนส่งผลต่อจำนวนนักท่องเที่ยวจีนที่เข้ามาไทย ทำให้การบริโภคลดลงได้ นายยงวุฒิ กล่าว จากกรณีข่าวนักมวยเด็ก น้องเล็ก-เพชรมงคล สวิไลทอง อายุ 13 ปี ที่ถูกฝ่ายตรงข้ามชกน็อกคาเวที ทำให้ศีรษะกระแทกพื้นจนหมดสติและเสียชีวิตในเวลาต่อมา ทำให้หลายฝ่ายออกมาแสดงความคิดเห็น พร้อมเรียกร้องให้มีการแก้ไข พรบมวย พศ2542 เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์อายุของเยาวชนที่จะเข้าแข่งขันกีฬาประเภทนี้ ทั้งนี้การส่งออกอาหารปัจจุบัน แบ่งเป็น การส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์และวัตถุดิบ 51%สินค้าพร้อมรับประทาน (เรดี้ทูอีท) 39% และฟังก์ชันนัลฟู้ด 10% โดยสถาบันฯ คาดว่ากลุ่มอาหารฟังก์ชั่นนัล ฟู้ดน่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นได้อีก 2-3% จากปัจจุบันมีสัดส่วนตลาดประมาณ 10% และคาดว่าสัดส่วนของการส่งออกวัตถุดิบอาจจะลดลงตามความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไปรองประธานาธิบดีสหรัฐไล่เบี้ย ซูจี กรณีโรฮีนจา 14 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 21:54 น รองประธานาธิบดีไมค์ เพนซ์ แห่งสหรัฐ ผสมโรงกดดันนางอองซาน ซูจี ระบุขณะพบกันนอกรอบที่สิงคโปร์เมื่อวันพุธว่า ความรุนแรงที่กองทัพเมียนมากระทำต่อชาวโรฮีนจานั้น ไม่มีข้อแก้ตัว และสหรัฐอยากเห็นความคืบหน้าในการลงโทษผู้กระทำผิด
ทั้งนี้การส่งออกอาหารปัจจุบัน แบ่งเป็น การส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์และวัตถุดิบ 51%สินค้าพร้อมรับประทาน (เรดี้ทูอีท) 39% และฟังก์ชันนัลฟู้ด 10% โดยสถาบันฯ คาดว่ากลุ่มอาหารฟังก์ชั่นนัล ฟู้ดน่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นได้อีก 2-3% จากปัจจุบันมีสัดส่วนตลาดประมาณ 10% และคาดว่าสัดส่วนของการส่งออกวัตถุดิบอาจจะลดลงตามความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไป สบสลงดาบ รพพระราม 2 สั่งปิดตึกผู้ป่วยนอก พบดัดแปลงจากที่จอดรถโดยไม่ได้ขออนุญาต พร้อมสั่งชี้แจงเหตุใดไม่มีแพทย์เข้าเวรในวันที่หญิงถูกสาดน้ำกรดไปขอรักษา เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายนนี้ นพณัฐวุฒิ ประเสริฐสิริพงศ์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส) กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยถึงความคืบหน้าการตรวจสอบโรงพยาบาลพระราม 2 ที่ถูกร้องเรียนปฏิเสธหญิงคนไข้ถูกสามีสาดน้ำกรด จนเสียชีวิตในเวลาต่อมา ว่า ขณะนี้ความผิดของโรงพยาบาลดังกล่าวมีความชัดเจนมากขึ้น ที่เห็นชัดๆ กรณีที่โรงพยาบาลนำเอาที่จอดรถมาปรับปรุงดัดแปลงเป็นอาคารผู้ป่วยนอก โดยไม่ขออนุญาต จึงได้มีคำสั่งปิดไปเมื่อวันที่ 13 พยที่ผ่านมา เนื่องจากมีความผิดตาม พรบสถานพยาบาล พศ2541 2มีคำสั่งลงโทษปรับในฐานทำความผิด พรบสถานพยาบาล แต่เป็นฐานความผิดที่ไม่ร้ายแรง จึงดำเนินการปรับไปเรียบร้อยแล้ว 3สบสได้สั่งให้โรงพยาบาลพระราม 2 ทำการปรับปรุงโรงพยาบาล ในส่วนที่ไม่ตรงตามมาตรฐาน พรบสถานพยาบาล โดยได้ให้ระยะเวลาในการปรับปรุง 15 วัน หากยังไม่ดำเนินการจะเพิกถอนใบอนุญาต ซึ่งหากโดนเพิกถอนใบอนุญาตจะส่งผลให้โรงพยาบาลถูกปิด แต่ก็ยังไม่รุนแรงเท่ากับการสั่งปิดโรงพยาบาลเลย และ 4ประเด็นที่ถือเป็นความผิดร้ายแรงใน พรบสถานพยาบาล ซึ่งจะมีการนำเรื่องดังกล่าวเข้าสู่คณะกรรมการเพื่อทำการพิจารณาความผิดในวันที่ 19 พยนี้ ทั้งนี้ สำหรับคดีของสาวที่ถูกสาดน้ำกรดจนเสียชีวิตนั้น ต้องเป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจพิจารณาว่าเข้าข่ายความผิดตามกฎหมายหรือไม่ ทพอาคม ประดิษฐสุวรรณ ผู้อำนวยการสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กล่าวว่า ขณะนี้ได้มีการลงไปตรวจสอบแล้ว 2 รอบ ซึ่งก็ได้เชิญผู้เกี่ยวข้องบางส่วนเข้ามาพูดคุยในประเด็นต่างๆ เพิ่มเติม เช่น ประเด็นทำไมไม่มีแพทย์อยู่เวรเพื่อให้บริการ คาดว่าใช้เวลาไม่นานจะได้ข้อสรุป ด้านนายอัจฉริยะ เรืองรัตนพงศ์ ประธานชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม ได้เดินทางเข้ายื่นหนังสือต่อนายประเสริฐ ฉวีอินทร์ ผู้อำนวยการเขตบางขุนเทียน เพื่อขอให้ตรวจสอบใบอนุญาตก่อสร้างดัดแปลงอาคาร ตรวจสอบอาคาร และใบอนุญาตเปิดใช้อาคารของโรงพยาบาลพระราม 2 ก่อนจะแจ้งข้อมูลผ่านเพจเฟซบุ๊กว่า จะร้องขอให้กระทรวงสาธารณสุขทบทวนการต่อใบอนุญาตให้ รพพระราม 2 ที่จะครบกำหนดใบอนุญาตสิ้นปีนี้ จนกว่าจะได้รับการแก้ไขในมาตรฐานสถานพยาบาล empire777 online casinoรองประธานาธิบดีสหรัฐไล่เบี้ย ซูจี กรณีโรฮีนจา 14 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 21:54 น รองประธานาธิบดีไมค์ เพนซ์ แห่งสหรัฐ ผสมโรงกดดันนางอองซาน ซูจี ระบุขณะพบกันนอกรอบที่สิงคโปร์เมื่อวันพุธว่า ความรุนแรงที่กองทัพเมียนมากระทำต่อชาวโรฮีนจานั้น ไม่มีข้อแก้ตัว และสหรัฐอยากเห็นความคืบหน้าในการลงโทษผู้กระทำผิดทำไมทักษะภาษาอังกฤษไทย ย่ำแย่ต่อเนื่องเป็นปีที่ 8? 15 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 00:01 น พาดหัวข่าวบอกว่าการสำรวจระดับสากลล่าสุดบอกว่า คะแนนทักษะภาษาอังกฤษเฉลี่ยของคนไทยยังแย่ต่อเนื่องกันมาเป็นปีที่ 8 แล้ว เป็นข่าวที่คนไทยควรต้อง ตระหนก กันทั่วประเทศ แต่ส่วนใหญ่คงจะแค่ ตระหนัก เท่านั้น ความตระหนักไม่ช่วยแก้ปัญหาเพราะนานๆ เข้าก็กลายเป็นเรื่อง ก็เป็นที่รู้ๆ กัน แต่ไม่มีใครลงมือทำให้ปัญหานั้นหายไปได้ ข่าวบอกว่าดัชนีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษนานาชาติชี้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของคนไทยยังคง ย่ำแย่ และอยู่ในระดับเดิมเป็นเวลาถึง 8 ปีซ้อน สื่อไปถามผู้เชี่ยวชาญก็จะได้รับคำตอบเดิมๆ ว่าเพราะการเรียนการสอนของเราล้าหลัง เน้นแต่ท่องจำและสอนแต่ไวยากรณ์เป็นหลัก เราได้ยินได้ฟังข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไขเรื่องการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมาหลายสิบปีแล้ว ทำไมปัญหายังแก้ไม่ได้? งานวิจัยหัวข้อนี้มีมากมาย ข้อสรุปและข้อเสนอก็มีเป็นปึกๆ แต่ไฉนจึงยังวนเวียนอยู่เช่นนี้ นั่นคือคำถามที่ต้องหาคำตอบให้ได้ หาไม่แล้วเราก็จะวกวนอยู่กับปัญหา และข้อเสนอทางออกเดิมๆ แต่ท้ายที่สุดเราก็ยังย่ำอยู่กับที่ คำถามต่อมาก็คือว่า ทำไมประเทศเพื่อนบ้านเราจึงสามารถยกระดับคะแนนทักษะภาษาอังกฤษได้ แต่เราทำไม่ได้ รายงานประจำปี 2561 ของสำนักงานจัดอันดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ หรือ Education First (EF) ที่มีสำนักงานใหญ่ในสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งออกมาเมื่อวันที่ 30 ตุลาคมที่ผ่านมา ระบุว่าไทยอยู่ในอันดับ 64 จาก 88 ประเทศทั่วโลกที่ไม่ได้ใช้อังกฤษเป็นภาษาหลัก และได้คะแนนเพียง 4854 จาก 100 คะแนน เมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียน ไทยได้คะแนนในอันดับ 6 จาก 8 ประเทศอาเซียนที่ทำการสำรวจ เรียงตามลำดับ คือ สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย เมียนมา และกัมพูชา รายงานเดียวกันนี้บอกว่า สวีเดนมีคะแนนสูงสุดในบรรดาประเทศที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ประเทศที่คะแนนต่ำสุดก็คือ ลิเบีย ผลจากคะแนนสอบนำมาจัดหมวดหมู่เป็น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก คะแนนของไทยถูกจัดอยู่ในระดับ ต่ำ และโปรดทราบด้วยว่าไทยเราอยู่ในระดับนี้ตั้งแต่ EF ออกรายงานฉบับแรกในปี 2554 หรือ 8 ปีแล้ว นอกจากนี้ EF ยังให้ข้อมูลเปรียบเทียบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของผู้หญิงว่า คะแนนของผู้หญิงสูงกว่าผู้ชาย โดยผู้หญิงมีเฉลี่ย 5457 และผู้ชาย 5263 จากผู้ทดสอบทั้งสิ้น 13 ล้านคนทั่วโลก คะแนนระหว่างผู้หญิงกับผู้ชายในไทยก็เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ผมอ่านข่าวนี้แล้วอยากรู้ว่าเขาทดสอบอย่างไร ก็ได้ความว่าเป็นการทดสอบแบบออนไลน์สำหรับคนทั่วไป โดยวัดผลจากทักษะการฟังและการอ่าน EF บอกว่าการสำรวจอย่างนี้อาจส่งผลให้ภาพรวมคะแนนออกมามากกว่าปกติ เพราะไม่ได้เข้าถึงกลุ่มคนยากไร้หรือคนที่ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ผมพูดคุยกับผู้รู้หลายคน เห็นตรงกันว่าการจะแก้ไขปัญหานี้ต้อง รื้อทั้งระบบ และต้องกล้าคิดนอกกรอบจริงๆ เช่นยกเลิกการสอบในวัยเด็ก ให้สอนการสนทนาและการสื่อสารก่อน ไวยากรณ์ให้สอนให้วัยโตแล้ว และไม่ให้ความสำคัญมากเกินความจำเป็น มุ่งเน้นใช้งบประมาณสร้างคุณภาพครูและนักเรียน ไม่ทุ่มเงินไปสร้างตึกหรือการบริหารระบบราชการที่คร่ำครึ ว่ากันว่าพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี 2542 ได้เสนอการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปในทางที่เน้นให้ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร หรือที่เรียกว่า communicative language teaching แต่เอาเข้าจริงๆ ในทางปฏิบัติไม่ได้เป็นไปตามนั้น เพราะครูยังคุ้นชินกับวิธีการสอนที่เน้นโครงสร้างหลักไวยากรณ์เป็นสำคัญ ซึ่งเป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้มาตลอดไม่ว่าจะครูรุ่นใหม่หรือเก่าก็ตาม ผมสังเกตว่าครูและข้าราชการของเราไปดูงานต่างประเทศเรื่องสอนภาษาอังกฤษมากมาย รวมถึงตัวอย่างของการปฏิรูปการศึกษาของหลายประเทศที่ประสบความสำเร็จ ตัวอย่างเช่นฟินแลนด์ แต่ทำไมเราไม่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อยกระดับการศึกษาของเราได้? คำตอบคือการดูงานก็คือการดูงาน กลับมาก็ยังทำงานเหมือนเดิมเพราะกฎกติกาแก้ไขไม่ได้ กระบวนคิดหรือ mindset ก็ไม่เปลี่ยน อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เคยพูดไว้น่าฟังว่า ถ้าคุณทำอะไรเหมือนเดิม แล้วคาดหวังว่าผลที่ออกมาจะต่างไปจากเดิม คุณก็บ้าแล้ว ผมจึงเชื่อว่าการปรับเปลี่ยนเรื่องนี้เหมือนกับหลายเรื่องที่ต้องยกเครื่องกันครั้งใหญ่ นั่นคือ การทำลายอย่างสร้างสรรค์ หรือ creative destruction นักการเมืองที่อาสาประชาชนมาบริหารประเทศในการเลือกตั้งที่กำลังจะมีขึ้น ต้องตอบคำถามประชาชนว่าจะแก้ปัญหานี้อย่างเป็นรูปธรรมจริงๆ อย่างไร
ก่อนหน้านี้:สล็อต ต่างประเทศ เครดิตฟรี steam
ต่อไป:truebet ค่า สิ โน nct
ยันปีศาจรัก 2021-02-27
จงออกไปจากที่เหมาะสม : เคยท่องตั้งแต่เด็กๆ ไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีเกษตรกรเป็นกระดูกสันหลังของชาติ แต่ไม่น่าเชื่อว่า นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่มีรัฐบาลไหนเลยที่สามารถแก้ปัญหาราคาพืชผลการเกษตรได้อย่างยั่งยืน ไม่มีการวางรากฐานให้เกษตรกรลืมตาอ้าปากได้ มีแค่กลืนไปกับระบบราชการ กับนโยบายหวือหวาเช่นจำนำข้าวทุกเมล็ด สุดท้ายนำไปสู่ปัญหาคอร์รัปชัน และสร้างความเสียหายให้งบประมาณแผ่นดินอย่างมหาศาล การเกิดขึ้นของม็อบชาวสวนยาง ซึ่งกำลังชุมนุมที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างว่า รัฐบาลทุกชุดที่ผ่านมา รวมทั้งรัฐบาล คสช ไม่ได้มีความประสงค์จะแก้ปัญหาอย่างจริงจัง หากมองโยงว่าม็อบเกิดช่วงก่อนเลือกตั้ง จะต้องมีการเมืองอยู่เบื้องหลังก็มองไป แต่ที่รัฐบาลมองข้ามไปไม่ได้เลยคือ ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำจนเกษตรกรจะอยู่ไม่ได้แล้ว แล้วปัญหามันอยู่ตรงไหน ต้องแก้ไขอย่างไร ไปดูยอดส่งออกยางพาราในปี ๒๕๖๐ ประเทศที่มียอดการส่งออก ๕ อันดับแรกของโลกมีดังนี้ ๑ไทย ๑๙๗,๑๐๐ ล้านบาท (๓๖๒%) ๒อินโดนีเซีย ๑๖๗,๕๓๕ ล้านบาท (๓๐๗%) ๓โกตดิวัวร์ ๓๖,๑๓๕ ล้านบาท (๖๗%) ๔มาเลเซีย ๓๖,๐๐๐ ล้านบาท (๖๖%) ๕เวียดนาม ๓๒,๘๕๐ ล้านบาท (๖๐%) การที่ประเทศไทยส่งออกเยอะที่สุดในโลกอาจไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะลึกๆ แล้วมีปัญหาให้มองได้ ๒ มิตินั่นคือ ปลูกจนล้น กับ แปรรูปในประเทศน้อย ทั้ง ๒ ข้อนี้คือหายนะของเกษตรกรชาวสวนยาง ย้อนกลับไปช่วงรัฐบาลทักษิณ ผู้ให้กำเนิดนโยบายเพิ่มพื้นที่ปลูกยางในภาคเหนือและภาคอีสาน ๑ ล้านไร่ เพราะขณะนั้นราคายางพาราต่อกิโลกรัมเกิน ๑๐๐ บาท ฐานความคิดที่ว่าปลูกเยอะก็ขายได้เยอะ ช่วงตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จึงมีการปลูกยางพารากันอย่างกว้างขวาง ที่เคยผลิตยางพาราได้ประมาณ ๑๕ ล้านตันต่อปี จากพื้นที่ปลูกในภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ ในปี ๒๕๕๖ ไทยผลิตยางได้ประมาณ ๔๑ ล้านตันต่อปี เพราะเพิ่มพื้นที่ปลูกทั่วทุกภาค เกือบทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นเกือบ ๔ เท่า แค่ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ดีมานด์-ซัพพลาย มาจับ ก็เห็นหายนะแล้ว การเพิ่มผลผลิตกันอย่างมโหฬารก็ตรงกับช่วงที่ราคายางพาราตกต่ำอย่างหนัก ขณะที่การแปรรูปใช้เองในประเทศ รัฐบาลรับปากไปก็เหมือนผายลม ถนนยางพาราผ่านมากี่ปีแล้วทำได้กี่กิโลเมตร ตัวเลขทั้งหมดนี้รัฐบาลรู้ เกษตรกรก็น่าจะรู้ ถ้าจะแก้ปัญหากันจริงๆ ต้องลดพื้นที่ปลูก แต่ถามว่า เกษตรกรยอมหรือเปล่า แล้วรัฐบาลกล้าหรือไม่ที่จะประกาศโซนปลูกยางพาราเสียใหม่ ตอบได้คำเดียวว่า ยากมาก ฉะนั้นไม่ว่าใครก็ตามที่พูดเรื่องยางพารา ถึงเวลาต้องพูดให้หมดและครอบคลุม ทั้งปัญหาและวิธีการแก้ไข อย่าใช้มาตรการเอาใจเกษตรกรมากเกินไปจนกลายเป็นดินพอกหางหมู ส่วนรัฐบาลถ้ายังไม่จริงจังที่จะแก้ปัญหา โดยเฉพาะ ลุงตู่ หากกลับมาเป็นนายกฯ อีกรอบท่านจะโดนหนักกว่านี้เยอะ ฝีมันเจ็บถ้าไม่ผ่าออก ตอนผ่าก็ยิ่งเจ็บกว่า แต่เจ็บแล้วหาย พืชผลทางการเกษตรก็เช่นกัน หากถึงเวลาบังคับปลูกเป็นโซนก็ต้องทำ ไม่เช่นนั้นจะติดกับราคาที่ตกต่ำ และการชุมนุมไม่จบไม่สิ้น
แม่กับพ่อใครดุกว่ากัน? แพท : แพทอยู่แล้ว พี่เบนซ์อวยลูกอย่างเดียว กลัวลูกไม่รัก เราเข้าใจเขาเลย เพราะ 1เขาห่างจากลูกไปนาน พอกลับมาเล่นกับลูกอะไรก็แล้วแต่ที่จะทำให้ลูกเข้าหาเขาทำหมด เพราะฉะนั้นในสายตาของเรสแม่คือนางมารอยู่แล้ว ปะป๊ะคือเทพเจ้าที่ได้ทุกอย่าง
ไป๋ชูเซียง 2021-02-27 15:39:52
ไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับนางเอกคนสวยอย่าง หยาดทิพย์ ราชปาล แต่จู่ๆ เจ้าตัวก็ได้โพสต์ภาพตนเองขณะกำลังนั่งอยู่บนรถเข็นที่โรงพยาบาล และรูปนิ้วเท้าทั้ง 2 ข้างที่กำลังเข้าเฝือกอยู่ งานนี้ต่างก็มีแฟนๆ เข้ามาให้กำลังใจกันล้มหลาม
Xu Shichang 2021-02-27 15:39:52
การจัดแสดงภายในห้องนิทรรศการผสมผสานเทคนิคการนำเสนอที่ล้ำสมัย ที่สามารถบอกเล่าเรื่องราวและประสบการณ์ ที่เหมือนพาผู้เข้าชมได้ย้อนเวลากลับไปอยู่บนเรือสมัยนั้น ได้อย่างน่าตื่นตาตื่นใจ โดยเปิดให้เข้าชม 25 รอบต่อวัน ตั้งแต่เวลา 1140 - 1940 น ใช้เวลาเข้าชม 35 นาทีต่อรอบ, แต่สำหรับเรา ไม่ใช่แค่จะชกมวยเลี้ยงตัว แต่เราชกเพราะใจรัก ชกเพราะเป็นนักสู้ สู้เพื่อครอบครัว ที่สำคัญกระแตรู้สึกว่ามวยเป็นกีฬาที่มีเสน่ห์ของการออกท่าทางแม่ไม้มวยไทย เป็นศิลปะการต่อสู้ที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษที่ป้องกันตัวได้ แต่สุดท้ายก็ขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล เราห้ามกันไม่ได้ เลยอยากฝากถึงนักมวยน้องๆ รุ่นจิ๋ว ให้ตั้งใจฝึกซ้อมจนเกิดทักษะที่ดี และเพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น แต่ถ้าจะให้เสนอ ก็อยากให้น้องๆ สวมเครื่องป้องกันศีรษะ อันตรายก็จะได้ลดน้อยลงค่ะ 。เปิด‘เรือสำเภาศรีมหาสมุทร’ พิพิธภัณฑ์ลอยน้ำแห่งแรกเจ้าพระยา น้อมรำลึกพระเจ้าตาก ที่ไอคอนสยาม 15 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 10:12 น 。
แม้แต่ฮยอก 2021-02-27 15:39:52
ศรีลังกาวุ่นต่อ รัฐสภาลงมติไม่ไว้วางใจนายกฯ ราชปักษา 14 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 21:11 น ศรีลังกาเผชิญภาวะสุญญากาศทางการเมือง เมื่อรัฐสภาลงมติเมื่อวันพุธ ไม่ไว้วางใจนายกฯ มหินทา ราชปักษา ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างน่าครหา หลังจากประธานาธิบดีปลดรานิล วิกรมสิงเห พ้นตำแหน่งนายกฯ เมื่อเดือนที่แล้ว,ทลายเครือข่าย ยาเสพติดใหญ่ ใช้พริตตี้พีอาร์ ล่อขายนักเที่ยว 15 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 00:01 น 。ถึงไก่จะให้ข้อมูลที่สับสนคลาดเคลื่อนไปก็ตาม ไก่กับผมก็ยังเป็นน้องเป็นพี่กันอยู่ดีครับ。
เวนดี้หยวนเป่าจู 2021-02-27 15:39:52
อิสราเอล-ปาเลสไตน์พักศึกกาซา รมวกลาโหมยิวลาออกประท้วง 14 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 22:51 น กองทัพอิสราเอลและนักรบปาเลสไตน์ในฉนวนกาซายุติการซัลโวจรวดตอบโต้กันไปมาแล้วตั้งแต่เย็นวันอังคาร ภายหลังอียิปต์เป็นคนกลางไกล่เกลี่ยหยุดยิง คลายวิตกความขัดแย้งบานปลายเป็นสงครามใหญ่ครั้งใหม่ แต่รัฐมนตรีกลาโหมอาวิกดอร์ ลีเบอร์แมน ของอิสราเอลลาออกประท้วง, เคยท่องตั้งแต่เด็กๆ ไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีเกษตรกรเป็นกระดูกสันหลังของชาติ แต่ไม่น่าเชื่อว่า นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่มีรัฐบาลไหนเลยที่สามารถแก้ปัญหาราคาพืชผลการเกษตรได้อย่างยั่งยืน ไม่มีการวางรากฐานให้เกษตรกรลืมตาอ้าปากได้ มีแค่กลืนไปกับระบบราชการ กับนโยบายหวือหวาเช่นจำนำข้าวทุกเมล็ด สุดท้ายนำไปสู่ปัญหาคอร์รัปชัน และสร้างความเสียหายให้งบประมาณแผ่นดินอย่างมหาศาล การเกิดขึ้นของม็อบชาวสวนยาง ซึ่งกำลังชุมนุมที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างว่า รัฐบาลทุกชุดที่ผ่านมา รวมทั้งรัฐบาล คสช ไม่ได้มีความประสงค์จะแก้ปัญหาอย่างจริงจัง หากมองโยงว่าม็อบเกิดช่วงก่อนเลือกตั้ง จะต้องมีการเมืองอยู่เบื้องหลังก็มองไป แต่ที่รัฐบาลมองข้ามไปไม่ได้เลยคือ ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำจนเกษตรกรจะอยู่ไม่ได้แล้ว แล้วปัญหามันอยู่ตรงไหน ต้องแก้ไขอย่างไร ไปดูยอดส่งออกยางพาราในปี ๒๕๖๐ ประเทศที่มียอดการส่งออก ๕ อันดับแรกของโลกมีดังนี้ ๑ไทย ๑๙๗,๑๐๐ ล้านบาท (๓๖๒%) ๒อินโดนีเซีย ๑๖๗,๕๓๕ ล้านบาท (๓๐๗%) ๓โกตดิวัวร์ ๓๖,๑๓๕ ล้านบาท (๖๗%) ๔มาเลเซีย ๓๖,๐๐๐ ล้านบาท (๖๖%) ๕เวียดนาม ๓๒,๘๕๐ ล้านบาท (๖๐%) การที่ประเทศไทยส่งออกเยอะที่สุดในโลกอาจไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะลึกๆ แล้วมีปัญหาให้มองได้ ๒ มิตินั่นคือ ปลูกจนล้น กับ แปรรูปในประเทศน้อย ทั้ง ๒ ข้อนี้คือหายนะของเกษตรกรชาวสวนยาง ย้อนกลับไปช่วงรัฐบาลทักษิณ ผู้ให้กำเนิดนโยบายเพิ่มพื้นที่ปลูกยางในภาคเหนือและภาคอีสาน ๑ ล้านไร่ เพราะขณะนั้นราคายางพาราต่อกิโลกรัมเกิน ๑๐๐ บาท ฐานความคิดที่ว่าปลูกเยอะก็ขายได้เยอะ ช่วงตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ จึงมีการปลูกยางพารากันอย่างกว้างขวาง ที่เคยผลิตยางพาราได้ประมาณ ๑๕ ล้านตันต่อปี จากพื้นที่ปลูกในภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ ในปี ๒๕๕๖ ไทยผลิตยางได้ประมาณ ๔๑ ล้านตันต่อปี เพราะเพิ่มพื้นที่ปลูกทั่วทุกภาค เกือบทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นเกือบ ๔ เท่า แค่ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ดีมานด์-ซัพพลาย มาจับ ก็เห็นหายนะแล้ว การเพิ่มผลผลิตกันอย่างมโหฬารก็ตรงกับช่วงที่ราคายางพาราตกต่ำอย่างหนัก ขณะที่การแปรรูปใช้เองในประเทศ รัฐบาลรับปากไปก็เหมือนผายลม ถนนยางพาราผ่านมากี่ปีแล้วทำได้กี่กิโลเมตร ตัวเลขทั้งหมดนี้รัฐบาลรู้ เกษตรกรก็น่าจะรู้ ถ้าจะแก้ปัญหากันจริงๆ ต้องลดพื้นที่ปลูก แต่ถามว่า เกษตรกรยอมหรือเปล่า แล้วรัฐบาลกล้าหรือไม่ที่จะประกาศโซนปลูกยางพาราเสียใหม่ ตอบได้คำเดียวว่า ยากมาก ฉะนั้นไม่ว่าใครก็ตามที่พูดเรื่องยางพารา ถึงเวลาต้องพูดให้หมดและครอบคลุม ทั้งปัญหาและวิธีการแก้ไข อย่าใช้มาตรการเอาใจเกษตรกรมากเกินไปจนกลายเป็นดินพอกหางหมู ส่วนรัฐบาลถ้ายังไม่จริงจังที่จะแก้ปัญหา โดยเฉพาะ ลุงตู่ หากกลับมาเป็นนายกฯ อีกรอบท่านจะโดนหนักกว่านี้เยอะ ฝีมันเจ็บถ้าไม่ผ่าออก ตอนผ่าก็ยิ่งเจ็บกว่า แต่เจ็บแล้วหาย พืชผลทางการเกษตรก็เช่นกัน หากถึงเวลาบังคับปลูกเป็นโซนก็ต้องทำ ไม่เช่นนั้นจะติดกับราคาที่ตกต่ำ และการชุมนุมไม่จบไม่สิ้น。 ชาวสวนยางเดินหน้ารวมพลแสดงพลังเชิงสัญลักษณ์ ชี้เดือดร้อนจริงไม่มีการเมือง กฤษฎา ประชุมด่วน เตรียมชง ครม 20 พยออกแพ็กเกจใหญ่อุ้มราคายาง ระยะสั้นใช้งบ 20,200 ล้านเยียวยา-ดันราคารับซื้อ สถานการณ์ราคายางพาราเมื่อวันพุธที่ 14 พฤศจิกายน ที่ราคาน้ำยางสดตกอยู่ที่กิโลกรัมละ 28-31 บาท, ยางก้นถ้วย 12-15 บาท และยางแผ่น กกละ 32-35 บาท ทำให้กลุ่มชาวสวนยางยังคงเดินหน้ารวมพลกดดันรัฐบาลให้แก้ไขปัญหา โดยกลุ่มชาวสวนยางจังหวัดนครศรีธรรมราชได้นัดรวมพล 5 จุด และเคลื่อนขบวนรถมุ่งหน้าสหกรณ์สุราษฎร์ธานี (โคออป) ขณะที่กลุ่มเกษตรกรสวนยาง อเวียงสระ สุราษฎร์ธานีเองก็รวมตัวบริเวณแยกใกล้ห้างโลตัสเวียงสระ เพื่อรอติดตามความเคลื่อนไหวจากชาวสวน จนครศรีธรรมราช นายศักดิ์สฤษดิ์ ศรีประศาสตร์ แกนนำเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางพารารายย่อยภาคใต้ กล่าวว่า ชาวสวนยางที่ได้รับความเดือดร้อนจริงๆ และสุดทนกับความลำบากที่เกิดขึ้น ชาวบ้านอยากจะแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ให้รัฐบาลได้รับรู้ และในวันที่ 20 พยที่ จตรัง ก็เตรียมจัดกิจกรรมมารวมตัวกันด้วย การรวมตัวครั้งนี้ไม่ใช่ขับไล่รัฐบาล เพราะถ้าใครไม่ชอบ พลอประยุทธ์ก็แค่ไม่เลือกในการเลือกตั้งสมัยหน้า ไม่มีการเมืองเกี่ยวข้อง หรือมีเบื้องหลังใดๆ ทั้งสิ้น แต่เพราะเดือดร้อนจริงๆ นายศักดิ์สฤษดิ์ระบุ นายมนัส บุญพัฒน์ นายกสมาคมคนกรีดยางและชาวสวนยางรายย่อยแห่งประเทศไทย ระบุว่า ที่ผ่านมาชาวสวนยางได้ยื่นเรียกร้องขอความช่วยเหลือมาตลอด แต่กลับเงียบไม่มีความก้าวหน้าใดๆ จึงต้องเคลื่อนไหวแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ด้านนายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวถึงกรณี พลอประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯ สั่งให้กระทรวงเกษตรฯ แก้ปัญหาราคายางพาราภายใน 7 วันนั้น จากการประชุมกับการยางแห่งประเทศไทย (กยท) หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และบริษัทผู้ส่งออกยางพารารายใหญ่ 5 ราย ก็ได้ข้อสรุปว่า จะเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม) อนุมัติงบประมาณค่าชดเชยการขาดรายได้แก่ชาวสวนยางพารา ซึ่งขึ้นทะเบียนกับ กยท 1,400,000 ครัวเรือน จากเดิมที่เคยจ่ายไร่ละ 1,500 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 15 ไร่ โดยจ่ายให้ทั้งเจ้าของสวนและผู้รับจ้างกรีดยาง ซึ่งปกติแล้วชาวสวนยางแบ่งสัดส่วนกันร้อยละ 60:40 ซึ่งขณะนี้กำลังพิจารณาว่าจะเพิ่มจำนวนให้มากกว่าไร่ละ 1,500 บาท หรือยังคงอยู่ที่ไร่ละ 1,500 บาท แต่เพิ่มจำนวนไร่ต่อครัวเรือนให้มากกว่า 15 ไร่ ซึ่งไม่ต่างจากการช่วยเหลือเมื่อปี 2560 โดยใช้งบกว่า 10,200 ล้านบาท นายกฤษฎากล่าวว่า ยังจะทำระบบรักษาเสถียรภาพราคายางพารา โดยราคาที่เกษตรกรควรขายได้ขณะนี้ สำหรับราคาน้ำยางสด กกละ 37 บาท ยางก้อนถ้วย กกละ 37 บาท ยางแผ่นรมควัน กกละ 40 บาท โดยกำหนดงบไว้ประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยเบื้องต้นจะใช้งบของ กยท หากไม่เพียงพอจะเสนอของบกลาง และหากภาคเอกชนรับซื้อต่ำกว่าราคาดังกล่าว รัฐจะชดเชยให้กิโลกรัมละ 2 บาท ทั้งนี้ กยท จังหวัดจะเข้าไปดูแลปริมาณการขายอย่างเข้มงวด ไม่ให้มีการแจ้งเกินจริง ทั้งนี้ ระบบรักษาเสถียรภาพราคายางพาราจะดำเนินการไปอย่างต่อเนื่อง จนกว่าสถานการณ์ราคายางพาราที่ตกต่ำอยู่จะดีขึ้นในระดับที่เกษตรกรคุ้มทุน ที่ประชุมเห็นตรงกันว่าต้องกระตุ้นการใช้ยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น ร่วมกับลดปริมาณน้ำยางดิบลงให้ได้ จากปัจจุบันกรีดน้ำยางออกสู่ตลาดปีละ 4,500,000 ตัน สมควรลดลงเหลือ 4,000,000 ตัน นายกฤษฎากล่าว และว่า ไทยส่งออกยางพาราได้ปีละ 4,000,000 ตัน ที่เหลืออีก 1,500,000 ตันอยู่ในประเทศ แต่ใช้ไม่หมด จึงล้นตลาดกดราคามาตลอด จากนี้ไปไม่สามารถพึ่งการส่งออกเป็นหลักได้ เนื่องจากมีหลายประเทศที่ปลูกยางพาราเพื่อส่งออกเช่นกัน ดังนั้นการเพิ่มปริมาณการใช้ยางจึงเป็นแนวทางที่ต้องเร่งดำเนินการ โดยเฉพาะการสร้างแรงจูงใจด้วยมาตรการลดภาษี นายกฤษฎากล่าวต่อว่า ยังมีมาตรการที่ทำควบคู่กัน คือให้ กยทประสานงานกับกระทรวงต่างๆ เพื่อจัดทำเครื่องนอน ทั้งที่นอนและหมอนจากยางพารา มอบให้โรงพยาบาล โรงเรียนประจำ สถานสงเคราะห์ ค่ายทหาร และเรือนจำ โดยให้ กยทรับซื้อน้ำยางดิบจากเกษตรกรราคาไม่ต่ำกว่ากิโลกรัมละ 37 บาท โดยจะเสนอของบกลางมาดำเนินการ ซึ่งปรับเปลี่ยนการใช้งบประมาณจากที่หน่วยงานเหล่านี้ต้องจัดสรรงบเพื่อซื้อเครื่องนอนมาสนับสนุนการใช้ยางพารา โดยตั้งเป้าเพิ่มปริมาณการใช้น้ำยางสดให้ได้ 170,000 ตันในปีงบประมาณนี้ ซึ่งจะเริ่มรับซื้อทันทีที่ทราบปริมาณความต้องการใช้ ส่วนยางค้างสต๊อกที่เริ่มเสื่อมคุณภาพประมาณ 104,000 ตัน จะนำไปทำแผ่นปูพื้น โดยสั่งการให้ กยทเร่งสำรวจข้อมูลจากกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดย กยทจะผลิตให้แก่โรงเรียนและสนามกีฬาที่ต้องการ ยังได้ประสานงานกระทรวงการคลังเพื่อให้พิจารณาว่าสามารถออกประกาศระเบียบพัสดุว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการการใช้ยางพาราในภาครัฐเพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่ยังมีงบประมาณสำหรับสนับสนุนโครงการนี้อีกกว่าหมื่นล้านบาทมาซื้อยางพาราไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ตามเป้าหมาย 200,000 ตัน จากปัจจุบันใช้ไปเพียง 8,800 ตัน เนื่องจากที่ผ่านมายังติดขัดปัญหาระเบียบพัสดุฯ ที่ต้องซื้อของราคาต่ำที่สุด แต่มีความคุณภาพสูงสุด รวมทั้งทำระบบประกันรายได้ของชาวสวนยางพารา โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก) ซึ่งมาตรการทั้งหมดนี้ กระทรวงจะนำเสนอในที่ประชุม ครมในวันที่ 20 พยนี้ นายกฤษฎาระบุ。
ภายนอก C 2021-02-27 15:39:52
รองประธานาธิบดีสหรัฐไล่เบี้ย ซูจี กรณีโรฮีนจา 14 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 21:54 น รองประธานาธิบดีไมค์ เพนซ์ แห่งสหรัฐ ผสมโรงกดดันนางอองซาน ซูจี ระบุขณะพบกันนอกรอบที่สิงคโปร์เมื่อวันพุธว่า ความรุนแรงที่กองทัพเมียนมากระทำต่อชาวโรฮีนจานั้น ไม่มีข้อแก้ตัว และสหรัฐอยากเห็นความคืบหน้าในการลงโทษผู้กระทำผิด,อิสราเอล-ปาเลสไตน์พักศึกกาซา รมวกลาโหมยิวลาออกประท้วง 14 พฤศจิกายน พศ 2561 เวลา 22:51 น กองทัพอิสราเอลและนักรบปาเลสไตน์ในฉนวนกาซายุติการซัลโวจรวดตอบโต้กันไปมาแล้วตั้งแต่เย็นวันอังคาร ภายหลังอียิปต์เป็นคนกลางไกล่เกลี่ยหยุดยิง คลายวิตกความขัดแย้งบานปลายเป็นสงครามใหญ่ครั้งใหม่ แต่รัฐมนตรีกลาโหมอาวิกดอร์ ลีเบอร์แมน ของอิสราเอลลาออกประท้วง。 ชาวสวนยางเดินหน้ารวมพลแสดงพลังเชิงสัญลักษณ์ ชี้เดือดร้อนจริงไม่มีการเมือง กฤษฎา ประชุมด่วน เตรียมชง ครม 20 พยออกแพ็กเกจใหญ่อุ้มราคายาง ระยะสั้นใช้งบ 20,200 ล้านเยียวยา-ดันราคารับซื้อ สถานการณ์ราคายางพาราเมื่อวันพุธที่ 14 พฤศจิกายน ที่ราคาน้ำยางสดตกอยู่ที่กิโลกรัมละ 28-31 บาท, ยางก้นถ้วย 12-15 บาท และยางแผ่น กกละ 32-35 บาท ทำให้กลุ่มชาวสวนยางยังคงเดินหน้ารวมพลกดดันรัฐบาลให้แก้ไขปัญหา โดยกลุ่มชาวสวนยางจังหวัดนครศรีธรรมราชได้นัดรวมพล 5 จุด และเคลื่อนขบวนรถมุ่งหน้าสหกรณ์สุราษฎร์ธานี (โคออป) ขณะที่กลุ่มเกษตรกรสวนยาง อเวียงสระ สุราษฎร์ธานีเองก็รวมตัวบริเวณแยกใกล้ห้างโลตัสเวียงสระ เพื่อรอติดตามความเคลื่อนไหวจากชาวสวน จนครศรีธรรมราช นายศักดิ์สฤษดิ์ ศรีประศาสตร์ แกนนำเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางพารารายย่อยภาคใต้ กล่าวว่า ชาวสวนยางที่ได้รับความเดือดร้อนจริงๆ และสุดทนกับความลำบากที่เกิดขึ้น ชาวบ้านอยากจะแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ให้รัฐบาลได้รับรู้ และในวันที่ 20 พยที่ จตรัง ก็เตรียมจัดกิจกรรมมารวมตัวกันด้วย การรวมตัวครั้งนี้ไม่ใช่ขับไล่รัฐบาล เพราะถ้าใครไม่ชอบ พลอประยุทธ์ก็แค่ไม่เลือกในการเลือกตั้งสมัยหน้า ไม่มีการเมืองเกี่ยวข้อง หรือมีเบื้องหลังใดๆ ทั้งสิ้น แต่เพราะเดือดร้อนจริงๆ นายศักดิ์สฤษดิ์ระบุ นายมนัส บุญพัฒน์ นายกสมาคมคนกรีดยางและชาวสวนยางรายย่อยแห่งประเทศไทย ระบุว่า ที่ผ่านมาชาวสวนยางได้ยื่นเรียกร้องขอความช่วยเหลือมาตลอด แต่กลับเงียบไม่มีความก้าวหน้าใดๆ จึงต้องเคลื่อนไหวแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ด้านนายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวถึงกรณี พลอประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯ สั่งให้กระทรวงเกษตรฯ แก้ปัญหาราคายางพาราภายใน 7 วันนั้น จากการประชุมกับการยางแห่งประเทศไทย (กยท) หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และบริษัทผู้ส่งออกยางพารารายใหญ่ 5 ราย ก็ได้ข้อสรุปว่า จะเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม) อนุมัติงบประมาณค่าชดเชยการขาดรายได้แก่ชาวสวนยางพารา ซึ่งขึ้นทะเบียนกับ กยท 1,400,000 ครัวเรือน จากเดิมที่เคยจ่ายไร่ละ 1,500 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 15 ไร่ โดยจ่ายให้ทั้งเจ้าของสวนและผู้รับจ้างกรีดยาง ซึ่งปกติแล้วชาวสวนยางแบ่งสัดส่วนกันร้อยละ 60:40 ซึ่งขณะนี้กำลังพิจารณาว่าจะเพิ่มจำนวนให้มากกว่าไร่ละ 1,500 บาท หรือยังคงอยู่ที่ไร่ละ 1,500 บาท แต่เพิ่มจำนวนไร่ต่อครัวเรือนให้มากกว่า 15 ไร่ ซึ่งไม่ต่างจากการช่วยเหลือเมื่อปี 2560 โดยใช้งบกว่า 10,200 ล้านบาท นายกฤษฎากล่าวว่า ยังจะทำระบบรักษาเสถียรภาพราคายางพารา โดยราคาที่เกษตรกรควรขายได้ขณะนี้ สำหรับราคาน้ำยางสด กกละ 37 บาท ยางก้อนถ้วย กกละ 37 บาท ยางแผ่นรมควัน กกละ 40 บาท โดยกำหนดงบไว้ประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยเบื้องต้นจะใช้งบของ กยท หากไม่เพียงพอจะเสนอของบกลาง และหากภาคเอกชนรับซื้อต่ำกว่าราคาดังกล่าว รัฐจะชดเชยให้กิโลกรัมละ 2 บาท ทั้งนี้ กยท จังหวัดจะเข้าไปดูแลปริมาณการขายอย่างเข้มงวด ไม่ให้มีการแจ้งเกินจริง ทั้งนี้ ระบบรักษาเสถียรภาพราคายางพาราจะดำเนินการไปอย่างต่อเนื่อง จนกว่าสถานการณ์ราคายางพาราที่ตกต่ำอยู่จะดีขึ้นในระดับที่เกษตรกรคุ้มทุน ที่ประชุมเห็นตรงกันว่าต้องกระตุ้นการใช้ยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น ร่วมกับลดปริมาณน้ำยางดิบลงให้ได้ จากปัจจุบันกรีดน้ำยางออกสู่ตลาดปีละ 4,500,000 ตัน สมควรลดลงเหลือ 4,000,000 ตัน นายกฤษฎากล่าว และว่า ไทยส่งออกยางพาราได้ปีละ 4,000,000 ตัน ที่เหลืออีก 1,500,000 ตันอยู่ในประเทศ แต่ใช้ไม่หมด จึงล้นตลาดกดราคามาตลอด จากนี้ไปไม่สามารถพึ่งการส่งออกเป็นหลักได้ เนื่องจากมีหลายประเทศที่ปลูกยางพาราเพื่อส่งออกเช่นกัน ดังนั้นการเพิ่มปริมาณการใช้ยางจึงเป็นแนวทางที่ต้องเร่งดำเนินการ โดยเฉพาะการสร้างแรงจูงใจด้วยมาตรการลดภาษี นายกฤษฎากล่าวต่อว่า ยังมีมาตรการที่ทำควบคู่กัน คือให้ กยทประสานงานกับกระทรวงต่างๆ เพื่อจัดทำเครื่องนอน ทั้งที่นอนและหมอนจากยางพารา มอบให้โรงพยาบาล โรงเรียนประจำ สถานสงเคราะห์ ค่ายทหาร และเรือนจำ โดยให้ กยทรับซื้อน้ำยางดิบจากเกษตรกรราคาไม่ต่ำกว่ากิโลกรัมละ 37 บาท โดยจะเสนอของบกลางมาดำเนินการ ซึ่งปรับเปลี่ยนการใช้งบประมาณจากที่หน่วยงานเหล่านี้ต้องจัดสรรงบเพื่อซื้อเครื่องนอนมาสนับสนุนการใช้ยางพารา โดยตั้งเป้าเพิ่มปริมาณการใช้น้ำยางสดให้ได้ 170,000 ตันในปีงบประมาณนี้ ซึ่งจะเริ่มรับซื้อทันทีที่ทราบปริมาณความต้องการใช้ ส่วนยางค้างสต๊อกที่เริ่มเสื่อมคุณภาพประมาณ 104,000 ตัน จะนำไปทำแผ่นปูพื้น โดยสั่งการให้ กยทเร่งสำรวจข้อมูลจากกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดย กยทจะผลิตให้แก่โรงเรียนและสนามกีฬาที่ต้องการ ยังได้ประสานงานกระทรวงการคลังเพื่อให้พิจารณาว่าสามารถออกประกาศระเบียบพัสดุว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการการใช้ยางพาราในภาครัฐเพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่ยังมีงบประมาณสำหรับสนับสนุนโครงการนี้อีกกว่าหมื่นล้านบาทมาซื้อยางพาราไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ตามเป้าหมาย 200,000 ตัน จากปัจจุบันใช้ไปเพียง 8,800 ตัน เนื่องจากที่ผ่านมายังติดขัดปัญหาระเบียบพัสดุฯ ที่ต้องซื้อของราคาต่ำที่สุด แต่มีความคุณภาพสูงสุด รวมทั้งทำระบบประกันรายได้ของชาวสวนยางพารา โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก) ซึ่งมาตรการทั้งหมดนี้ กระทรวงจะนำเสนอในที่ประชุม ครมในวันที่ 20 พยนี้ นายกฤษฎาระบุ。